การวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงปริมาณ 2 (Quantitative Risk Analysis 2)

การวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงปริมาณ 2 (Quantitative Risk Analysis 2)

การวัดความเสี่ยงเชิงปริมาณ โดย การวิเคราะห์ข้อมูลในอดีตในเชิงสถิติและเศรษฐศาสตร์ถูกนำเสนอ เป็นครั้งแรกโดย Harry Markowitz โดยตั้งสมการเป้าหมาย เป็นค่าความเสี่ยงของ Portfolio  วัดจาก Standard Deviation การแก้ปัญหาหาโดยการปรับค่าสัดส่วนของการลงทุนเพื่อหาจุดที่ทำให้ค่าความเสี่ยงในสมการเป้าหมายนั้นต่ำสุด และมีเงื่อนไขบังคับต้องมีค่าเท่ากับค่าที่กำหนด ในทางคณิตศาสตร์เรียกวิธการแก้ปัญหาหาแบบนี้ว่า Quadratic Programming with Lineer constraint ผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุนอย่างเป็นเรื่องราวขึ้น โดยมองว่าอัตราผลตอบแทนของการลงทุนนั้นไม่แน่นอน แต่สามารถคาดการณ์ได้ โดยอาศัยค่าเฉลี่ยผลตอบแทนในอดีต ถ้าการกระจายของผลตอบแทนนี้ มีลักษณะเป็นการกระจายแบบปรกติ(Normal Distribution) เราสามารถวัดความเสี่ยงของการลงทุนในหุ้น โดยคำนวณส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของอัตราผลตอบแทน ถ้าค่านี้มีมากแสดงว่าความเสี่ยงของการลงทุนในหุ้นนั้นมีมากไปด้วย เพราะแสดงว่าโอกาสที่ผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงจะแตกต่างจากค่าเฉลี่ยหรืออัตราผลตอบแทนของการดาดการณ์นั้นมีอยู่สูง เมื่อทดลองนำหุ้นหลายตัวมาประกอบเป็นกลุ่มหลักทรัพย์ (Portfolio)ระบบสนับสนุนการตัดสินในในการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์) แล้วว่าสามารถสร้างกลยุทธ์ของการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนคาดการณ์ค่อนข้างสูงและมีความเสี่ยงซึ่งวัดจาก Standard Deviation ของ Portfolio นั้นต่ำลง เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างหุ้นในกลุ่มหลักทรัพย์นั้นเอง  การวิเคราะห์โดยสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์วัดความแปรปรวน และตัวแบบสมการเชิงเส้น




ตัวแบบทางคณิตศาสตร์
ตัวแบบสมการเชิงเส้น


ตัวแบบจาก Excel ค่าความแปรปรวนสูงแสดงถึงความเสี่ยงสูงแต่ให้ผลตอบแทนที่สูงตาม



ที่มา https://sites.google.com/site/simulationinexcel/bthkhwam-ngan-wicay/optimization-of-portfolios-risk-and-return





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น